homeowners insurance Claim home insurance Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim commercial insurance Claim cheap auto insurance Claim cheap health insurance Claim indemnity Claim car insurance companies Claim progressive quote Claim usaa car insurance Claim insurance near me Claim term life insurance Claim auto insurance near me Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim progressive renters insurance Claim state farm insurance quote Claim metlife auto insurance Claim best insurance companies Claim progressive auto insurance quote Claim cheap car insurance quotes Claim allstate car insurance Claim rental car insurance Claim car insurance online Claim liberty mutual car insurance Claim cheap car insurance near me Claim best auto insurance Claim home insurance companies Claim usaa home insurance Claim list of car insurance companies Claim full coverage insurance Claim allstate insurance near me Claim cheap insurance quotes Claim national insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim health insurance quotes Claim ameritas dental Claim state farm renters insurance Claim medicare supplement plans Claim progressive renters insurance Claim aetna providers Claim title insurance Claim sr22 insurance Claim medicare advantage plans Claim aetna health insurance Claim ambetter insurance Claim umr insurance Claim massmutual 401k Claim private health insurance Claim assurant renters insurance Claim assurant insurance Claim dental insurance plans Claim state farm insurance quote Claim health insurance plans Claim workers compensation insurance Claim geha dental Claim metlife auto insurance Claim boat insurance Claim aarp insurance Claim costco insurance Claim flood insurance Claim best insurance companies Claim cheap car insurance quotes Claim best travel insurance Claim insurance agents near me Claim car insurance Claim car insurance quotes Claim auto insurance Claim auto insurance quotes Claim long term care insurance Claim auto insurance companies Claim home insurance quotes Claim cheap car insurance quotes Claim affordable car insurance Claim professional liability insurance Claim cheap car insurance near me Claim small business insurance Claim vehicle insurance Claim best auto insurance Claim full coverage insurance Claim motorcycle insurance quote Claim homeowners insurance quote Claim errors and omissions insurance Claim general liability insurance Claim best renters insurance Claim cheap home insurance Claim cheap insurance near me Claim cheap full coverage insurance Claim cheap life insurance Claim

ปวดหัว-ปวดหู ลองย้อนดูฟัน by SDC1st Dentist

ปวดหัว-ปวดหู ลองย้อนดูฟัน
เพราะเหตุใดจึงปวดหัว-ปวดหู

ปวดหัว-ปวดหู ลองย้อนดูฟันหัวข้อ เรื่องนี้เมื่อเห็นแล้วอาจชวนให้เกิดความรู้สึกคล้ายๆ ชื่อหัวเรื่องขึ้นมาก็ได้ แต่ขออย่าเพิ่งท้อใจ ทนอ่านต่อไปอีกหน่อย และเมื่อถึงบางอ้อ ความรู้สึกนั้นก็จะหายไปเอง ท่านที่เคยปวดหัวและ/หรือปวดหูอย่างเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ แม้จะได้รับการรักษากินยาไปหลายครั้งแล้วก็ยังไม่หาย ให้ลองไปพบทันตแพทย์ดู ท่านอาจจะแปลกใจว่า ฟันของท่านเองนั่นแหละเป็นที่มาของอาการปวดดังว่านั้น โดยเฉพาะ สุภาพสตรีมักจะเป็นมากกว่าเพศตรงกันข้าม และพบได้ตั้งแต่วัยรุ่นไปจนกระทั่งวัยดึก

หาก ไม่ได้รับการแก้ไขทันเวลา ย่อมพัฒนาไปสู่อาการเจ็บปวดของกล้ามเนื้อบดเคี้ยวและข้อต่อกระดูกขากรรไกรใน ที่สุด และหากทิ้งไว้เนิ่นนานไป ก็จะเกิดความผิดปกติของอวัยวะในระบบบดเคี้ยวบางส่วน หรือทั้งหมด
เพราะเหตุใดจึงปวดหัว-ปวดหู

สาเหตุ หนึ่งที่เกี่ยวพันกับฟันของท่าน คือ การสบฟันที่ผิดปกติ ท่านอาจจะมีฟันเกฟันล้มเอียง ฟันบิ่น ฟันกร่อน หรือฟันที่ได้รับการบูรณะไว้อยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะไม่ว่าจะโดยอุดหรือทำครอบ ฟัน การใส่ฟันปลอม ทำให้เกิดจุดสูงในขณะที่ฟันสบกัน หรือเกิดการสะดุดในขณะบดเคี้ยวไปมา ทำให้รู้สึกระคายเคืองอยู่เนืองๆ จึงเกิดความผิดปกติของระบบบดเคี้ยว ทั้งโดยขนาดของแรงที่ใช้ในการบดเคี้ยวและทิศทางการเคลื่อนที่ของฟัน ณ จุดสูง หรือจุดสะดุดนั้นๆ ส่งผลให้มีความเครียดในกล้ามเนื้อบดเคี้ยว, ข้อต่อขากรรไกรและประสาทส่วนคอและศีรษะหากไม่ได้รับการแก้ไขทันเวลา ย่อมพัฒนาไปสู่อาการเจ็บปวดของกล้ามเนื้อบดเคี้ยวและข้อต่อกระดูกขากรรไกรใน ที่สุด และหากทิ้งไว้เนิ่นนานไป ก็จะเกิดความผิดปกติของอวัยวะในระบบบดเคี้ยวบางส่วน หรือทั้งหมด (ได้แก่ ฟัน, เนื้อเยี่อปริทันต์, กระดูกขากรรไกรและข้อต่อกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้อง) นอกจากนี้ยังพบว่า ในผู้ป่วยจำนวนมาก สาเหตุทางด้านจิตใจและอารมณ์ก็มีความสัมพันธ์อย่างแยกไม่ออก ซึ่งมักพบว่าผู้ป่วยเหล่านี้จะมีพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง นี้ คือ การขบกรามและการนอนกัดฟันเป็นกิจวัตร การขบกรามจะเกิดขึ้นในขณะตื่น ส่วนการกัดฟันเกิดขึ้นในขณะหลับโดยเป็นไปอย่างโดยไม่รู้ตัว จึงไม่อาจควบคุมหรือหยุดพฤติกรรมนี้ได้ในทันที่ที่เกิดขึ้น


จาก การศึกษาพบว่า พฤติกรรมดังกล่าวนี้จะทำให้มีการเคลื่อนที่ของขากรรไกรล่างอย่างรุนแรง กล้ามเนื้อบดเคี้ยวมีการทำงานมากกว่าปกติ และจะเกิดเป็นจังหวะติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในรายที่นอนกัดฟัน ผลลัพธ์คือ ด้านบดเคี้ยวของฟันเกิดการสึกกร่อนในอัตราที่มากกว่าปกติหลายเท่าตัว กล้ามเนื้อในระบบบดเคี้ยวมีการเกร็งตัว ทำให้รู้สึกเมื่อยหลังตื่นนอน เมื่อฟันสึกมากจนถึงชั้นเนื้อฟัน จะเริ่มเสียวฟันเมื่อกินของเปรี้ยวของเย็น หรือกระทั่งเวลาเคี้ยวอาหารแข็งหน่อย ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันฟันและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง จึงต้องหยุดการเคลื่อนที่ของขากรรไกรล่าง ด้วยการให้ผู้ป่วยใส่เฝือกฟันด้านบดเคี้ยว (Occlusal splint) ซึ่งทำจากวัสดุคล้ายพลาสติก เรียกว่า อะคริลิกเรซิ่น รูป ร่างคล้ายเกือกม้า ร่วมกับการแก้ไขจุดสูงบนตัวฟันซี่ที่เป็นต้นเหตุและอาจให้ยาคลายเครียด หรือยานอนหลับเท่าที่จำเป็น รวมทั้งยาแก้ปวด

ลักษณะอาการปวดหัว-ปวดหู


นอนกัดฟัน กรอด ๆ
ลักษณะ เด่นของอาการปวดหัวและ/หรือปวดหูที่ว่ามานี้ คือ มักจะปวดบริเวณด้านข้างเหนือใบหูใกล้ๆ ขมับข้างเดียวหรือสองข้าง และกดเจ็บ หรือปวดด้านหน้าหูร่วมกับการกดเจ็บและมีเสียงดังเวลาอ้าปาก หุบปาก ในบางคนอาจพบว่า มีอาการกดเจ็บที่กล้ามเนื้อบริเวณท้ายทอยบริเวณเหนือมุมขากรรไกรหรือบริเวณ ข้างฟันกล้ามซี่ที่ 2 ด้านแก้ม อาการปวดจะรุนแรงขึ้นตามการใช้งาน โดยเฉพาะเมื่อเคี้ยวของแข็งหรือเหนียว

วิธีป้องกันฟัน-เหงือก

การ ป้องกันนั้นสามารถทำได้โดยการดูแลสุขภาพเหงือกและฟันให้ดี ถ้ามีฟันซ้อนเกควรปรึกษาทันตแพทย์จัดฟัน เพื่อทำการแก้ไข ในกรณีที่มีการอุดฟัน ทำครอบฟันหรือใส่ฟันทุกครั้งควรสังเกตว่ามีจุดสูงหรือสะดุดในขณะสบฟันหรือ เคี้ยวอาหารหรือไม่ ถ้ามีให้กลับไปรับการแก้ไขโดยเร็ว สำหรับผู้ที่เครียดหรือกังวลง่าย ควรหมั่นฝึกทำสมาธิก่อนนอนประมาณ 10-15 นาทีทุกวัน ทำให้หลับสนิทไม่เกิดนิสัยนอนหลับกัดฟัน และช่วยให้ห่างไกลไม่ต้องพึ่งยานอนหลับ ในกรณีที่เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อหรือข้อต่อขากรรไกร ให้งดอาหารแข็ง หรือเหนียวเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์ หลีกเลี่ยงการอ้าปากกว้าง เช่น หาวนอน หรือหัวเราะ ใช้ผ้านุ่มซุบน้ำอุ่นจัดๆ ประคบบริเวณที่ปวดวันละ 2-5 ครั้งๆ ละ 5-10 นาที เพื่อให้กล้ามเนื้อผ่อนคลายอาการเกร็งตึงและลดปวด ถ้าต้องการยาแก้ปวด อาจเลือกใช้แอสไพรินหรือพาราเซตามอล


Night Guard
การรักษา


ผู้ป่วยที่มีปัญหาความเจ็บปวดเรื้อรังร่วมกับพฤติกรรมนอนกัดฟัน หรือขบกรามมาเป็นเวลาหลายปี จำเป็นต้องได้รับการรักษาจากทันตแพทย์ระบบบดเคี้ยวโดยเฉพาะระยะเวลาในการ รักษามักจะต้องใช้เวลาค่อนข้างนาน ผู้ป่วยต้องมีความอดทนที่จะไปรับการรักษาอย่างต่อเนื่องจึงจะเห็นผล ดังนั้น เราควรใส่ใจป้องกันและรับการแก้ไขแต่เนิ่นๆ

ที่มา  คลิก