homeowners insurance Claim home insurance Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim commercial insurance Claim cheap auto insurance Claim cheap health insurance Claim indemnity Claim car insurance companies Claim progressive quote Claim usaa car insurance Claim insurance near me Claim term life insurance Claim auto insurance near me Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim progressive renters insurance Claim state farm insurance quote Claim metlife auto insurance Claim best insurance companies Claim progressive auto insurance quote Claim cheap car insurance quotes Claim allstate car insurance Claim rental car insurance Claim car insurance online Claim liberty mutual car insurance Claim cheap car insurance near me Claim best auto insurance Claim home insurance companies Claim usaa home insurance Claim list of car insurance companies Claim full coverage insurance Claim allstate insurance near me Claim cheap insurance quotes Claim national insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim health insurance quotes Claim ameritas dental Claim state farm renters insurance Claim medicare supplement plans Claim progressive renters insurance Claim aetna providers Claim title insurance Claim sr22 insurance Claim medicare advantage plans Claim aetna health insurance Claim ambetter insurance Claim umr insurance Claim massmutual 401k Claim private health insurance Claim assurant renters insurance Claim assurant insurance Claim dental insurance plans Claim state farm insurance quote Claim health insurance plans Claim workers compensation insurance Claim geha dental Claim metlife auto insurance Claim boat insurance Claim aarp insurance Claim costco insurance Claim flood insurance Claim best insurance companies Claim cheap car insurance quotes Claim best travel insurance Claim insurance agents near me Claim car insurance Claim car insurance quotes Claim auto insurance Claim auto insurance quotes Claim long term care insurance Claim auto insurance companies Claim home insurance quotes Claim cheap car insurance quotes Claim affordable car insurance Claim professional liability insurance Claim cheap car insurance near me Claim small business insurance Claim vehicle insurance Claim best auto insurance Claim full coverage insurance Claim motorcycle insurance quote Claim homeowners insurance quote Claim errors and omissions insurance Claim general liability insurance Claim best renters insurance Claim cheap home insurance Claim cheap insurance near me Claim cheap full coverage insurance Claim cheap life insurance Claim

ดื่มน้ำชามาก

การดื่มน้ำชามากมันมีผลต่อตัวเรายังงัย บทความนี้ขอนำเสนอ ข้อมูลจาก thai.cri.cn/1/2008/12/10/21s139444.htm


ชาเป็นสิ่งที่ขาดเสียไม่ได้ในชีวิตประจำวันของชาวจีน เวลาทำงาน กินข้าว รับรองแขก ล้วนนิยมดื่มน้ำชา เพราะว่า น้ำชาทั้งกลิ่นหอม แก้กระหายน้ำ แก้ร้อนใน และยังเป็นผลดีต่อการบำรุงสมอง นักวิทยาศาสตร์สิงคโปร์ได้วิจัยผู้ที่มีอายุมากกว่า 55 ปีที่มีความเคยชินดื่มน้ำชาจำนวนกว่า 2,500 คนเป็นเวลา 2 ปี พบว่า 2 ใน 3 ไม่มีอาการความจำเสื่อม แต่ผู้ที่ไม่ดื่มน้ำชา 35% ความจำเสื่อมลง แสดงว่า การดื่มน้ำชา ช่วยให้สมองสดชื่น ป้องกันโรคอัลไซเมอร์


ปัจจุบัน ชาวจีนนิยมดื่มชาหลายอย่าง อาทิ


ชาเกลือ การดื่มน้ำชาที่ผสมเกลือบางๆ สามารถรักษาไข้หวัด แก้ไอ ร้อนในและปวดฟัน


ชาน้ำส้มสายชู การดื่มน้ำชาที่เจือด้วยน้ำส้มสายชู จะบำรุงกระเพาะอาหาร แก้มาลาเรีย และปวดฟัน


ชาขิง การดื่มน้ำชาขิงหลังอาหาร บำรุงปอด บรรเทาอาการไอ ป้องกันและรักษาไข้หวัด และโรคไทฟอยด์


ชานม ต้มน้ำนมที่ใส่น้ำตาลกรวดขาวให้เดือด แล้วผสมด้วยน้ำชา จะได้ช่วยลดความอ้วน บำรุงม้าม และให้สมองสดชื่น


ชาน้ำผื้ง การดื่มน้ำชาที่ชงน้ำผึ้งและใบชาด้วยกัน จะสามารถแก้การกระหายน้ำ บำรุงเลือด ทำให้ปอดชุ่มชื่น บำรุงไต และแก้ท้องผูก


เนื่องจากชามีประโยชน์มากมาย จึงมีคนนิยมดื่มน้ำชาเป็นประจำจำนวนมากขึ้น แต่มักมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการดื่มน้ำชาดังนี้


1. ชอบดื่มชาใหม่ เนื่องจากชาใหม่เก็บมาเป็นเวลาสั้น มีสารที่ยังไม่เป็นอ๊อกซิไดซ์หลายอย่าง ซึ่งจะระคายกรดเคลือบในกระเพาะอาหารและลำไส้จนทำให้เกิดโรคกระเพาะอาหาร ดังนั้น ไม่ควรดื่มชาใหม่ที่เก็บมาไม่ถึง 15 วัน


2. ดื่มน้ำชาที่ชงเป็นครั้งแรก เนื่องจากยาฆ่าแมลงและสารพิษอาจค้างอยู่บนใบชา ดังนั้น น้ำชาที่ชงเป็นครั้งแรกเป็นน้ำล้างชา ไม่ควรดื่ม


3. ดื่มน้ำชาขณะท้องว่าง จะทำให้น้ำย่อยในกระเพาะอาหารจางลง และทำให้สารที่ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพเข้าสู่เลือด จะเกิดอาการเวียนหัว ใจหวิว มือเท้าชา


4. ดื่มน้ำชาหลังอาหาร เมื่อกรดฟอกหนังในใบชาผสมกับธาตุเหล็กในอาหารแล้วจะละลายได้ยาก ถ้าทำติดต่อเป็นเวลานานจะทำให้ร่างกายขาดธาตุเหล็กจนเป็นโรคโลหิตจาง






5. ดื่มน้ำชาขณะเป็นไข้ ใบชามีด่างชา ซึ่งจะทำให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น


6. ผู้ป่วยโรคเป็นแผลในกระเพาะอาหารดื่มน้ำชาแล้ว คาเฟอินในใบชาจะทำให้น้ำย่อยอาหารในกระเพาะอาหารเพิ่มมากขึ้น ทำให้กระเพาะอาหารเป็นแผลกระทั่งเป็นรูก็ได้


7. การดื่มน้ำชาในช่วงมีประจำเดือน โดยเพฉาะดื่มน้ำชาข้น จะทำให้อาการไม่สบายในช่วงประจำเดือนหนักขึ้นเป็น 2.4 เท่าของผู้ที่ไม่ดื่มน้ำชา


8. การดื่มน้ำชาอย่างเดียวตลอดปี ควรดื่มน้ำชาตามการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ฤดูใบไม้ผลิควรดื่มน้ำชาดอกไม้ ฤดูร้อนดื่มน้ำชาเขียว ช่วยแก้ร้อนใน ขจัดสารพิษ เสริมสมรรถนะของกระเพาะอาหารและลำไส้ ป้องกันท้องเสีย ฤดูใบไม้ร่วงควรดื่มชาอูหลง ไม่ร้อนไม่เย็น สามารถขจัดความร้อนออกจากร่างกาย ส่วนฤดูหนาวดื่มชาแดงดีกว่า เพราะว่าชาแดงอุดมด้วยสารโปรตีน บำรุงร่างกายได้


9. กินยาด้วยน้ำชา จะทำให้ส่วนประกอบบางอย่างในยาเกิดตะกอน จนลดสมรรถภาพของยา


10. การดื่มน้ำชาเย็น ไม่เหมาะสำหรับผู้แพ้คาเฟอิน ผู้หญิงมีครรภ์ เด็ก ผู้มีโรคหัวใจ ผู้เป็นแผลในกระเพาะอาหาร


11. เติมน้ำตาลในน้ำชา น้ำชาหวานไม่เหมาะสำหรับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและผู้ที่กำลังลดความอ้วน


12. การดื่มน้ำชามากเกินควร ผลการวิจัยปรากฎว่า แต่ละวันดื่มน้ำชา 150 กรัม.ก็จะได้ผลบำรุงสุขภาพ แต่บางคนเข้าใจว่า ดื่มน้ำชายิ่งมากยิ่งดี จนส่งผลกระทบต่อการนอนหรืออาการไม่สะบายอื่นๆ


13. ใบชาไม่ใช่ยิ่งเก็บนานยิ่งดี โดยเฉพาะชาผลไม้และดอกไม้ เนื่องจากมีน้ำเยอะ จึงขึ้นราง่าย ควรเก็บไว้ในตู้เย็น ส่วนใบชาอื่นๆ เมื่อหมดอายุแล้ว ไม่ควรดื่ม เพราะว่าอาจเกิดสารที่ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพขึ้น


วิธีการที่ชงน้ำชาที่ถูกต้องคือ


การชงชาเขียว ใช้น้ำร้อนอุณหภูมิ 80-90 องศา ถ้าชงผงชาเขียว ควรใช้น้ำอุ่น อุณหภูมิ 40-60 องศา


น้ำชาที่ชงเสร็จแล้ว ควรดื่มให้หมดภายใน 30-60 นาที เพราะว่าสารโภชนาการอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงเกิน 60 นาที


น้ำชาเขียวไม่ควรเข้นข้นเกินไป เพื่อจะไม่ส่งผลกระทบต่อการหลั่งน้ำย่อยของกระเพาะอาหาร