homeowners insurance Claim home insurance Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim commercial insurance Claim cheap auto insurance Claim cheap health insurance Claim indemnity Claim car insurance companies Claim progressive quote Claim usaa car insurance Claim insurance near me Claim term life insurance Claim auto insurance near me Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim progressive renters insurance Claim state farm insurance quote Claim metlife auto insurance Claim best insurance companies Claim progressive auto insurance quote Claim cheap car insurance quotes Claim allstate car insurance Claim rental car insurance Claim car insurance online Claim liberty mutual car insurance Claim cheap car insurance near me Claim best auto insurance Claim home insurance companies Claim usaa home insurance Claim list of car insurance companies Claim full coverage insurance Claim allstate insurance near me Claim cheap insurance quotes Claim national insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim health insurance quotes Claim ameritas dental Claim state farm renters insurance Claim medicare supplement plans Claim progressive renters insurance Claim aetna providers Claim title insurance Claim sr22 insurance Claim medicare advantage plans Claim aetna health insurance Claim ambetter insurance Claim umr insurance Claim massmutual 401k Claim private health insurance Claim assurant renters insurance Claim assurant insurance Claim dental insurance plans Claim state farm insurance quote Claim health insurance plans Claim workers compensation insurance Claim geha dental Claim metlife auto insurance Claim boat insurance Claim aarp insurance Claim costco insurance Claim flood insurance Claim best insurance companies Claim cheap car insurance quotes Claim best travel insurance Claim insurance agents near me Claim car insurance Claim car insurance quotes Claim auto insurance Claim auto insurance quotes Claim long term care insurance Claim auto insurance companies Claim home insurance quotes Claim cheap car insurance quotes Claim affordable car insurance Claim professional liability insurance Claim cheap car insurance near me Claim small business insurance Claim vehicle insurance Claim best auto insurance Claim full coverage insurance Claim motorcycle insurance quote Claim homeowners insurance quote Claim errors and omissions insurance Claim general liability insurance Claim best renters insurance Claim cheap home insurance Claim cheap insurance near me Claim cheap full coverage insurance Claim cheap life insurance Claim

ต้องกินยาลดความดันโลหิตสูงถึงเมื่อไหร่?

ภญ.อัมพร จันทรอาภรณ์กุล
“ต้องกินยาลดความดันโลหิต สูงถึงเมื่อไหร่?” คำถามนี้เป็นคำถามที่ดิฉันได้รับฟังอยู่บ่อยครั้ง เนื่องจากผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ที่เข้ารับการรักษาจนกระทั่งควบคุมความดันได้อยู่ในระดับปกติแล้วมักไม่มี อาการใดๆ หรือแม้แต่ผู้ที่ยังไม่สามารถคุมความดันโลหิตได้ในระดับปกติหลายรายก็ไม่มี อาการแสดงทางคลินิกใดๆ ให้เห็น จึงไม่แปลกใจเลยว่าเพราะเหตุใดคำถามนี้จึงเป็นคำถามยอดฮิตสำหรับคนกลุ่มนี้ และก่อนที่จะตอบคำถามนี้ดิฉันจะอธิบายให้ท่านผู้อ่านเข้าใจถึงโรคนี้คร่าวๆ ก่อนนะคะ
ความดันโลหิตคืออะไร ?
     ลองจินตนาการถึงภาพสายยางรดน้ำต้นไม้ ที่มีน้ำไหลเป็นจังหวะการปิดเปิดของก๊อก เมื่อเปิดน้ำเต็มที่ น้ำไหลผ่านสายยาง ย่อมทำให้เกิดแรงดันน้ำขึ้นในสายยางนั้น และเมื่อปิดหรือหรี่ก๊อก น้ำไหลน้อยลง แรงดันในสายยางก็ลดลงด้วย ระบบหัวใจและหลอดเลือด ก็เป็นระบบไหลเวียนของเลือดทั่วร่างกายที่มีหัวใจทำหน้าที่คล้ายก๊อก หรือปั๊มน้ำ คอยสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย เลือดไหลแรงดี ความดันก็ดี หากหัวใจบีบตัวไม่ดี เลือดไหลอ่อน ความดันก็ลดลง นอกจากนั้นแล้วความดันในหลอดเลือดยังขึ้นกับสภาพของหลอดเลือดด้วย หากหลอดเลือดมีความยืดหยุ่นดีก็จะปรับความดันได้ดีไม่ให้สูงเกินไป แต่หากหลอดเลือดเสียความยืดหยุ่น หรือแข็งตัวก็จะทำให้ความดันเปลี่ยนแปลงไปด้วย

     ค่าความดันโลหิตจะมีสองค่าเสมอ เรียกว่า “ตัวบน” และ “ตัวล่าง” ค่าแรกเป็นความดันโลหิตในหลอดเลือดที่เกิดขึ้นขณะที่หัวใจบีบตัวไล่เลือดออก จากหัวใจ ส่วนตัวล่างคือความดันของเลือดที่ยังค้างอยู่ในหลอดเลือดขณะที่หัวใจคลายตัว ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควรจำค่าทั้งสองไว้เพราะมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไป กว่ากัน

ความดันโลหิตเท่าไรเรียกว่าปกติ?     ปัจจุบันความดันโลหิตที่เรียกว่า “เหมาะสม” ในผู้ที่อายุมากกว่า 18 ปี คือ ตัวบนไม่เกิน 120 มม.ปรอท และตัวล่างไม่เกิน 80 มม.ปรอท เรียกสั้นๆว่า 120/80 ความดันโลหิตสูงเล็กน้อย ควรติดตามอย่างใกล้ชิด คือ 120-139/80-89 มม.ปรอท จะเรียกได้ว่ามีความดันโลหิตสูงเมื่อ ความดันโลหิตตัวบนมากกว่า (หรือเท่ากับ) 140 และตัวล่างมากกว่า (หรือเท่ากับ) 90 มม.ปรอท อย่างไรก็ตามก่อนที่จะเรียกว่ามีความดันโลหิตสูงได้นั้น แพทย์จะต้องวัดซ้ำหลายๆ ครั้ง หลังจากให้ผู้นั้นพักแล้ว วัดซ้ำจนกว่าจะแน่ใจว่าสูงจริง และที่สำคัญเทคนิคการวัดต้องถูกต้องด้วย
การจำแนกความดันโลหิต "ตัวบน" ความดันโลหิต "ตัวล่าง"
 (มม.ปรอท) (มม.ปรอท)
ความดันโลหิตที่เหมาะสม< 120และ< 80
ความดันโลหิตสูงเล็กน้อย120-139หรือ80-89
ความดันโลหิตสูง   
ระดับที่ 1140-159หรือ90-99
ระดับที่ 2>160หรือ>100


ความดันโลหิตสูงเกิดจากอะไร? มีอาการอย่างไร?
 จนถึงปัจจุบันนี้ความดัน โลหิตสูงก็ยังเป็นโรคที่ไม่ทราบสาเหตุเป็นส่วนใหญ่ มีหลายปัจจัยมาเกี่ยวข้องทั้งพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม เช่น อาหารรสเค็ม เชื้อชาติ มีเพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่าร้อยละ 5) ที่ทราบสาเหตุ ได้แก่ ความผิดปกติของหลอดเลือด ไตวาย หรือ เนื้องอกบางชนิด ความดันโลหิตสูงได้ชื่อว่าเป็น “ฆาตกรเงียบ” เนื่องจากผู้ที่เป็นส่วนใหญ่ไม่มีอาการผิดปกติ ไม่ทราบว่าตัวเองมีความดันโลหิตสูง บางรายแม้จะทราบดีว่าตัวเองเป็นความดันโลหิตสูงแต่กลับละเลยไม่ใส่ใจรักษา อย่างต่อเนื่องเพราะรู้สึกปกติ สบายดี ทำให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่างๆ ตามมาภายหลัง มีส่วนน้อยที่มีอาการปวดศีรษะ มึนศีรษะ
ทำไมต้องลดความดันโลหิต ?      การปล่อยให้ความดันโลหิตสูงอยู่เป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดการเสื่อมสภาพของ หลอดเลือดแดง โดยเฉพาะหลอดเลือดเลี้ยงสมอง ตา หัวใจ และไต จึงทำให้หลอดเลือดสมองแตก หรือตีบตัน เป็นอัมพาต ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โรคหัวใจขาดเลือด ไตวายเรื้อรัง เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วความดันโลหิตสูงยังทำให้หัวใจต้องทำงานหนักมากขึ้น นานเข้าก็จะเกิดภาวะหัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจหนา ซึ่งอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหัวใจวายตามมาได้ ดังนี้แล้วจะเห็นได้ว่าการละเลยไม่สนใจรักษาโรคนี้ก็จะมีโทษต่อตนเองในอนาคต ได้มากมาย ซึ่งส่วนใหญ่แล้วแต่เป็นภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่สามารถป้องกันได้โดยการควบคุมความดันโลหิต

ทำไมต้องกินยาลดความดันหลายตัว?      มีหลายท่านสงสัยว่าทำไมบางคนกินยาลดความดันชนิดเดียว บางคนกินตั้งหลายชนิด บ้างก็ 2 บ้างก็ 3 บ้างก็ 4 คุณหมอพิจารณาจากอะไร อันนี้มีคำตอบ คุณหมอไม่ได้ให้แบบไร้เหตุผลหรอกนะคะ ดิฉันจะเล่าให้ฟังคร่าวๆ ถึงหลักการให้ยาลดความดันโลหิต ดังนี้

      การเลือกชนิดของยาความดันโลหิตสำหรับแต่ละรายขึ้นกับหลายปัจจัย ได้แก่ ระดับความดันโลหิตของคนผู้นั้นขณะได้รับการวินิฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง โรคที่เป็นร่วมด้วยในขณะนั้น ความทนได้ต่อยา สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้ป่วย

     เลือกให้ยาที่ออกฤทธิ์ครอบคลุมได้ 24 ชั่วโมง จะได้กินยาเพียงวันละครั้ง ไม่ลืมกินยา และควบคุมความดันได้สม่ำเสมอทั้งวัน

     เริ่มให้ยาขนาดต่ำเพียง 1 ชนิด และถ้าผู้นั้นสามารถทนต่อยาได้ดีจึงจะเพิ่มขนาดยาเป็นขนาดกลาง และให้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์ ก่อนที่จะปรับขนาดยาขึ้น เพื่อรอให้ผลลดความดันโลหิตจากยาแต่ละขนาดเกิดขึ้นอย่างเต็มที่เสียก่อน

     กรณีที่ความดันโลหิตของคนๆ นั้นยังไม่ลดลงตามต้องการ อาจเปลี่ยนกลุ่มยา หรือเพิ่มขนาดยา หรือเสริมยาตัวที่สองในขนาดต่ำเข้าไปอีก โดยการเลือกยาตัวที่สองจะต้องช่วยเสริมฤทธิ์ยาตัวแรก โดยที่ไม่เกิดอาการข้างเคียงจากยาเพิ่มขึ้น หรือเกิดน้อยที่สุด

     จะเห็นได้ว่าการให้ยาสำหรับผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงแต่ละรายอาจเหมือนหรือ ต่างกันไปตามความเหมาะสม และการตอบสนองต่อยาของผู้นั้นเอง ดังนั้นคุณไม่ควรเปรียบเทียบว่าทำไมได้รับยาไม่เท่าเทียมกัน และไม่ควรนำยาของตนไปให้คนอื่นกินโดยเด็ดขาด

     จากรายละเอียดทั้งหมดที่ได้กล่าวไปคงเป็นคำตอบสำหรับคำถามที่ว่า “ต้องกินยาลดความดันโลหิตสูงถึงเมื่อไหร่?” ได้แล้วนะคะ หากท่านรู้สึกไม่อยากกินยา เบื่อหน่ายกับการกินยาตลอดชีวิต ให้จำไว้ว่า การรักษาความดันโลหิตสูงในวันนี้ คือการซื้อประกันสุขภาพ เพื่อที่จะลดโอกาสเกิดผลแทรกซ้อนร้ายแรงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตลงให้มากที่สุดนั่นเอง

credit  เหมียว CHANEL Bloggang.com