homeowners insurance Claim home insurance Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim commercial insurance Claim cheap auto insurance Claim cheap health insurance Claim indemnity Claim car insurance companies Claim progressive quote Claim usaa car insurance Claim insurance near me Claim term life insurance Claim auto insurance near me Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim progressive renters insurance Claim state farm insurance quote Claim metlife auto insurance Claim best insurance companies Claim progressive auto insurance quote Claim cheap car insurance quotes Claim allstate car insurance Claim rental car insurance Claim car insurance online Claim liberty mutual car insurance Claim cheap car insurance near me Claim best auto insurance Claim home insurance companies Claim usaa home insurance Claim list of car insurance companies Claim full coverage insurance Claim allstate insurance near me Claim cheap insurance quotes Claim national insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim health insurance quotes Claim ameritas dental Claim state farm renters insurance Claim medicare supplement plans Claim progressive renters insurance Claim aetna providers Claim title insurance Claim sr22 insurance Claim medicare advantage plans Claim aetna health insurance Claim ambetter insurance Claim umr insurance Claim massmutual 401k Claim private health insurance Claim assurant renters insurance Claim assurant insurance Claim dental insurance plans Claim state farm insurance quote Claim health insurance plans Claim workers compensation insurance Claim geha dental Claim metlife auto insurance Claim boat insurance Claim aarp insurance Claim costco insurance Claim flood insurance Claim best insurance companies Claim cheap car insurance quotes Claim best travel insurance Claim insurance agents near me Claim car insurance Claim car insurance quotes Claim auto insurance Claim auto insurance quotes Claim long term care insurance Claim auto insurance companies Claim home insurance quotes Claim cheap car insurance quotes Claim affordable car insurance Claim professional liability insurance Claim cheap car insurance near me Claim small business insurance Claim vehicle insurance Claim best auto insurance Claim full coverage insurance Claim motorcycle insurance quote Claim homeowners insurance quote Claim errors and omissions insurance Claim general liability insurance Claim best renters insurance Claim cheap home insurance Claim cheap insurance near me Claim cheap full coverage insurance Claim cheap life insurance Claim

โรคกระดูกพรุน Osteoporosis


โรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน ...คุณรู้จักดีแค่ไหน?
(ไทยรัฐ)

           ด้วยวัยที่มากขึ้นมักมาพร้อมกับความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย " โรคกระดูกพรุน " ก็ เป็นภาวะเสื่อมที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน ปัจจุบันจึงมักพบเห็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเกี่ยวกับกระดูกออกวางจำหน่ายใน ท้องตลาดมากมาย เพื่อยื้อความแข็งแรงของโครงสร้างของร่างกายเอาไว้ให้นานเท่าที่จะทำได้

           โดยปกติกระดูกของคนเราเป็นอวัยวะที่มีชีวิต กระดูกจะมีเซลล์หลักอยู่ 2 ชนิด ชนิดแรกมีหน้าที่สลายกระดูกเรียกว่า Osteoclast และอีกชนิดหนึ่งมีหน้าที่สร้างกระดูกใหม่เรียกว่า Osteoblast ซึ่งเซลล์ทั้ง 2 ชนิดนี้ทำงานอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจนตาย โดยช่วงเวลาของการสร้างและสลายกระดูกสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ช่วงดังนี้

           1. ช่วงของการสร้างมวลกระดูกเริ่มต้นเมื่อแรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 30 ปี ช่วงนี้เป็นช่วงที่มีการสร้างมวลกระดูกมากกว่าการสลายมวลกระดูก มวลกระดูกของร่างกายจึงเพิ่มขึ้นจนถึงจุดสูงสุดที่เรียกว่า Peak Bone Mass

           2. ช่วงของการคงมวลกระดูก หลังจากอายุ 30 ปีไปแล้วการสร้างกระดูกจะลดลงจนเท่ากับการสลายกระดูก มวลกระดูกรวมจึงคงที่ไปจนถึงอายุประมาณ 45 ปี

           3. ช่วงการสลายมวลกระดูก จากอายุ 45 ปีขึ้นไป การสร้างมวลกระดูกจะลดลงเรื่อยๆ มวลกระดูกรวมของร่างกายจึงลดลงตามลำดับ สตรีในช่วงหมดประจำเดือน การสลายมวลกระดูกจะรวดเร็วมากทำให้มวลกระดูกลดลงอย่างรวดเร็ว

           โรคกระดูกพรุน คือ โรค ที่ผู้ป่วยมีมวลกระดูกต่ำกว่าปกติ และมีแนวโน้มจะต่ำลงเรื่อยๆ จนเป็นสาเหตุให้เกิดกระดูกหักจากอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย และมีโอกาสที่กระดูกที่หักอาจไม่สามารถติดกันได้

           อาการสำคัญของ โรคกระดูกพรุน ได้แก่ ปวดตามกระดูกส่วนกลางที่รับน้ำหนัก เช่น กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก และอาจมีอาการปวดข้อร่วมด้วย ต่อมาความสูงของลำตัวจะค่อยๆ ลดลง หลังจะโก่งค่อมหากหลังโก่งค่อมมากๆ จะทำให้ปวดหลังมากเสียบุคลิก เคลื่อนไหวลำบากระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารถูกรบกวน เมื่อเป็นโรคติดเชื้อของทางเดินหายใจจะหายยาก ระบบย่อยอาหารผิดปกติ ท้องอืดเฟ้อ และท้องผูกเป็นประจำ


โรคกระดูกพรุน อันตรายอย่างไร?

           โรคแทรกซ้อนที่อันตรายที่สุดของ โรคกระดูกพรุน คือ กระดูกหัก บริเวณที่พบมาก ได้แก่ กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก และกระดูกข้อมือ ซึ่งหากกระดูกสันหลังหัก จะทำให้เกิดอาการปวดมาก จนไม่สามารถเคลื่อนไหวไปไหนได้

           การพักรักษาตัวเป็นเวลานานย่อมทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขึ้นได้ เช่น ภาวะถุงลมโป่งพอง ภาวะการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด อันเป็นสาเหตุให้สุขภาพโดยรวมแย่ลงอย่างรวดเร็ว จนอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้

           เมื่อผู้ป่วย โรคกระดูกพรุน ได้รับอุบัติเหตุทำให้เกิดภาวะกระดูกหัก กระดูกจะใช้เวลาในการเชื่อมต่อตัวเองนานกว่ากระดูกปกติ หรืออาจไม่ติดเลยก็ได้ ผู้ป่วย โรคกระดูกพรุน จะต้องอยู่ในเฝือกนานขึ้นเป็นสาเหตุให้เกิดอาการข้อยึดติด ไม่สามารถใช้ร่างกายส่วนนั้นได้เป็นระยะเวลานาน หรืออาจต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดยึดกระดูกซึ่งผลการรักษามักไม่ได้ผลดี

การตรวจหา โรคกระดูกพรุน

           ปัจจุบันมีเครื่องมือวัดความหนาแน่นของกระดูก Bone DEXA scan (Dual Energy X-ray Absorptiometry) เป็นเครื่องมือเอ็กซเรย์ระบบ 2 พลังงาน ที่ใช้ในการประเมินผลว่า ผู้มารับบริการมีความเสี่ยงต่อ โรคกระดูกพรุน มากน้อยเพียงใด และยังช่วยในการตัดสินใจวางแผนการรักษา โรคกระดูกพรุน และติดตามผลการรักษาอย่างเหมาะสม โดยทั่วไปแพทย์จะพิจารณาส่งตรวจส่วนที่ต้องการตามรอยโรคของผู้ป่วย แต่หากต้องการตรวจเพื่อสุขภาพ จะแนะนำให้ตรวจ 2 บริเวณ คือ กระดูกสันหลังและกระดูกสะโพก ซึ่งเป็นวิธีที่จะทราบถึงสภาวะมวลกระดูกของเราได้ดีที่สุด การตรวจหามวลกระดูกจะแปรผลออกมาเป็นค่าทางสถิติ โดยใช้การเปรียบเทียบมวลกระดูกของเรากับมวลกระดูกของประชากรในอายุและเพศเดียวกัน

การแปรผลการตรวจมวลกระดูกจะแปรผลออกมา คือ

             มวลกระดูกปกติ (Normal) หมายถึง มีมวลกระดูกหนาแน่นเป็นปกติในคนที่อายุยังน้อย

             มวลกระดูกบาง (Osteopenia) หมายถึง มีมวลกระดูกน้อยกว่าปกติ แต่ยังไม่ถึงขั้นเป็น โรคกระดูกพรุน เป็นภาวะที่ต้องรับการรักษาก่อนที่จะเป็น โรคกระดูกพรุน กระดูกพรุน (Osteoporosis) หมายถึง มีมวลกระดูกน้อยกว่าปกติมากจนเสี่ยงต่อกระดูกหักหรือกระดูกยุบตัว

ภาวะเสี่ยงต่อการเกิด โรคกระดูกพรุน

             หญิงวัยหมดประจำเดือน การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนทำให้กระดูกสลายตัวในอัตราที่เร็วขึ้น
          
             หญิงที่มีประจำเดือนหมดเร็ว หรือ หญิงที่ตัดรังไข่

             กรรมพันธุ์จากมารดาสู่บุตร

             ชาวเอเชีย และคนผิวขาว มีโอกาสเป็นโรคนี้ได้มากกว่าคนยุโรป


http://health.kapook.com/view753.html
ขอขอบคุณข้อมูลจาก