homeowners insurance Claim home insurance Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim commercial insurance Claim cheap auto insurance Claim cheap health insurance Claim indemnity Claim car insurance companies Claim progressive quote Claim usaa car insurance Claim insurance near me Claim term life insurance Claim auto insurance near me Claim state farm car insurance Claim comprehensive insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim progressive renters insurance Claim state farm insurance quote Claim metlife auto insurance Claim best insurance companies Claim progressive auto insurance quote Claim cheap car insurance quotes Claim allstate car insurance Claim rental car insurance Claim car insurance online Claim liberty mutual car insurance Claim cheap car insurance near me Claim best auto insurance Claim home insurance companies Claim usaa home insurance Claim list of car insurance companies Claim full coverage insurance Claim allstate insurance near me Claim cheap insurance quotes Claim national insurance Claim progressive home insurance Claim house insurance Claim health insurance quotes Claim ameritas dental Claim state farm renters insurance Claim medicare supplement plans Claim progressive renters insurance Claim aetna providers Claim title insurance Claim sr22 insurance Claim medicare advantage plans Claim aetna health insurance Claim ambetter insurance Claim umr insurance Claim massmutual 401k Claim private health insurance Claim assurant renters insurance Claim assurant insurance Claim dental insurance plans Claim state farm insurance quote Claim health insurance plans Claim workers compensation insurance Claim geha dental Claim metlife auto insurance Claim boat insurance Claim aarp insurance Claim costco insurance Claim flood insurance Claim best insurance companies Claim cheap car insurance quotes Claim best travel insurance Claim insurance agents near me Claim car insurance Claim car insurance quotes Claim auto insurance Claim auto insurance quotes Claim long term care insurance Claim auto insurance companies Claim home insurance quotes Claim cheap car insurance quotes Claim affordable car insurance Claim professional liability insurance Claim cheap car insurance near me Claim small business insurance Claim vehicle insurance Claim best auto insurance Claim full coverage insurance Claim motorcycle insurance quote Claim homeowners insurance quote Claim errors and omissions insurance Claim general liability insurance Claim best renters insurance Claim cheap home insurance Claim cheap insurance near me Claim cheap full coverage insurance Claim cheap life insurance Claim

เตือนอันตรายจากผลิตภัณฑ์ต่อเล็บปลอม

ต่อเล็บ


รมช.สธ.เตือนอันตรายจากผลิตภัณฑ์ต่อเล็บปลอม (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข)

          รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เตือนสุภาพสตรีที่นิยมการต่อเล็บปลอม อาจได้รับอันตรายจากสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว โดยตรวจพบว่า มีการใช้สารเคมีกลุ่มอะครัยลิก โมโนเมอร์ (acrylic monomers) และฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde) ซึ่งสารทั้งสองกลุ่มนี้เป็นสารที่ทำให้เกิดการแพ้ได้ โดยเฉพาะผู้ที่ไวต่อการแพ้สารเคมี

          ดร.พรรณสิริ กุลนาถศิริ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า การต่อเล็บด้วยเล็บปลอมทั้งที่ทำจากพลาสติก และที่ทำจากสารเคมีกำลังเป็นที่นิยมในหมู่สุภาพสตรี ซึ่งเล็บปลอมที่ทำจากพลาสติกมีทั้งประเภทสำเร็จรูป คือ มีลวดลายต่าง ๆ กัน ราคาไม่แพง สามารถหาซื้อได้จากร้านค้า ห้างสรรพสินค้าทั่วไป หรือสามารถทำได้ด้วยตนเอง โดยนำมาติดที่เล็บจริงด้วยกาว

          และอีกประเภทหนึ่งคือ เล็บปลอมที่ต้องทำที่ร้านทำเล็บ โดยช่างเฉพาะทางที่ผ่านการฝึกอบรม ทำให้มีราคาแพงกว่าเล็บปลอมชนิดสำเร็จรูป และมีรายละเอียดมากในการต่อเล็บ ตั้งแต่การผสมสารเคมีให้เหมาะสม การขึ้นรูปให้เป็นรูปเล็บ การทำให้เล็บที่ต่อแข็งตัว และปรับแต่งให้เหมาะสมกับเล็บจริง จนกระทั่งเขียนลวดลายให้สวยงาม

          ทั้ง นี้ การต่อเล็บปลอมอาจก่อให้เกิดอันตรายทั้งต่อผู้ให้บริการและผู้บริโภคได้ เนื่องจากมีการใช้สารเคมีในกระบวนการต่อเล็บ ตั้งแต่วัตถุดิบที่ใช้ในการขึ้นรูปเล็บ เป็นสารเคมีในกลุ่มอะครัยลิก โมโนเมอร์ (acrylic monomers) และส่วนที่ทำให้เล็บที่ต่อแข็งตัว อาจมีสารเคมีฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde) เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย ซึ่งสารทั้งสองกลุ่มนี้เป็นสารระเหยง่าย อาจทำให้เกิดอาการแพ้ได้ โดยเฉพาะผู้ที่ไวต่อสารเคมี

          รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวต่ออีกว่า จากข้อมูลของสำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้สุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ต่อเล็บ จากร้านขายส่งในเขตกรุงเทพมหานคร 2 แห่ง ได้แก่ ตลาดสำเพ็งและตลาดประตูน้ำ และสั่งซื้อทางอินเทอร์เน็ต รวมทั้งสิ้น 35 ตัวอย่าง จำแนกเป็นผลิตภัณฑ์ต่อเล็บส่วนที่ทำให้เล็บแข็งตัว จำนวน 14 ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ พบว่ามี ปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์อยู่ในช่วงร้อยละไม่เกิน 0.12 โดยน้ำหนัก ส่วนผลิตภัณฑ์ต่อเล็บส่วนที่สร้างเล็บปลอม จำนวน 21 ตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์พบสารกลุ่มอะครัยลิก โมโนเมอร์ ชนิด เอทธิลีนไดเมทธาครีเลท (ethylene dimethacrylate)จำนวน 3 ตัวอย่าง ปริมาณไม่เกินร้อยละ 0.08 โดยน้ำหนัก


ต่อเล็บ


          ด้านนางจุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ประเทศไทยยังไม่มีการควบคุมปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ในผลิตภัณฑ์ทาเล็บ ซึ่งตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องกำหนดชื่อ และปริมาณของวัตถุที่อาจใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง ที่ออกความตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2535 โดยปริมาณสูงสุดที่ให้ใช้ได้ในผลิตภัณฑ์สำหรับเล็บ เท่ากับร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก แต่ยังไม่มีการควบคุมและกำกับดูแลผลิตภัณฑ์ส่วนที่ทำให้เล็บแข็งตัว และผลิตภัณฑ์ต่อเล็บส่วนที่สร้างเล็บปลอม เช่น สาร ในกลุ่มอะครัยลิก โมโนเมอร์ เป็นสารที่มีความเป็นพิษปานกลาง อยู่ในรูปแบบที่เป็นผง แต่เมื่อเตรียมเป็นของเหลวมีการระเหยเป็นไอของสารดังกล่าว ซึ่งอาจทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ดวงตาและระบบทางเดินหายใจ เป็นพิษเมื่อสูดดมได้ ผลการสำรวจและประเมินความเสี่ยงของ Danish EPA ให้ ค่าความปลอดภัยของสารกลุ่มอะครัยลิก โมโนเมอร์ ที่ให้ใช้ได้ในผลิตภัณฑ์ต่อเล็บที่ร้อยละ 0.1 โดยน้ำหนัก

          นอก จากนี้ข้อควรระมัดระวังอย่างมากในการต่อเล็บปลอม ไม่ว่าจะทำเองหรือโดยช่างเฉพาะ คือ การเกิดหมักหมมของสิ่งสกปรกและเชื้อโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การนำเล็บปลอมที่หลุดลอกออกแล้วนำมาติดทับใหม่ โดยไม่ทำความสะอาดให้ดี ก็อาจเป็นผลให้เกิดเชื้อรา และเชื้อแบคทีเรียเจริญเติบโตระหว่างชั้นเล็บ ทำให้เกิดผิวหนังอักเสบ หรือแพร่เข้าสู่ร่างกาย ขอแนะนำว่า ทั้งผู้ให้บริการและผู้บริโภคควรใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก เพื่อป้องกันการสูดดมสารเคมีดังกล่าว อีกทั้งผู้ให้บริการควรหมั่นดูแลรักษาความสะอาดเครื่องมือ และอุปกรณ์เป็นประจำ ซึ่งจะเป็นการช่วยป้องกันเชื้อโรคได้อีกทางหนึ่ง


http://health.kapook.com/view22161.html
ขอขอบคุณข้อมูลจาก