ที่มา กรมส่งเสริมการเกษตร
ตำลึง เป็นผักพื้นบ้านที่คนทั่วไปรู้จักกันมานาน เป็นผักที่มี คุณค่าทางโภชนาการมาก สามารถนำไปปรุงอาหารได้หลากหลายชนิด เช่น แกงจืด ต้มจิ้มน้ำพริก ใส่ก๋วยเตี๋ยวและต้มเลือดหมู เป็นต้น ในอดีตนั้นเราไม่ จำเป็น ต้องปลูกตำลึงเอาไว้รับประทานเอง เนื่องจากตำลึงมักพบเห็นทั่วไป ตามเถาไม้เลื้อยอื่น ตามพุ่มไม้เตี้ยหรือพุ่มไม้แห้งตาย รวมทั้งขึ้นตามริม รั้วบ้าน จนมีคำกล่าวถึง “ ตำลึงริมรั้ว ” อยู่เสมอ
แต่ในปัจจุบันเราไม่ค่อยพบตำลึงตามริมรั้วอีกแล้ว จะเห็นก็เฉพาะ ในที่รกร้างว่างเปล่า หรือไม่ก็ตามสวนที่ปลูกตำลึงไว้เพื่อการค้า ซึ่งสามารถ ทำรายได้อย่างงามแก่ผู้ปลูกตำลึงขายเป็นอย่างดี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ตำลึงเป็นไม้เถาเลื้อย เถาตำลึงมี ลักษณะกลม แยกเพศกันอยู่คนละต้น ปลายดอก
แยกออกเป็น 5 แฉก โคนติดกันเป็นกรวย ผลมีรูปร่าง กลมรีคล้ายแตงกวาแต่มีขนาดเล็กกว่า ผลอ่อนมี
สีเขียวลายขาว เมื่อแก่กลายเป็นสีแดง ตำลึงเป็น พืชที่ชอบน้ำ จะสังเกตเห็นว่าในหน้าแล้งใบตำลึงจะ
แคระแกร็น แต่ในหน้าฝนยอดตำลึงจะอ่อนอวบอิ่ม น่ารับประทาน ตำลึงออกดอกประมาณ
เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม
คุณค่าทางอาหาร
ตำลึงเป็นผักใบเขียวเข้มมีคุณค่าทางอาหารสูงมีทั้งเบต้า – แคโรทีน ที่ช่วยลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจขาดเลือด ทั้งในแคลเซียม และสารอาหารอื่น ๆ ที่พร้อมกันมาช่วยให้สุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง นอกจากนี้ยังพบว่า ตำลึงยังประกอบไปด้วยเส้นใย ที่มีความสามารถในการจับ
ไนไตรท์ได้ดีที่สุด เมื่อเทียบกับพืชชนิดอื่น นี่เป็นคุณลักษณะพิเศษของตำลึง ที่มีเส้นใยคอยจับไนไตรท์เพราะจะเป็นการลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งใน กระเพาะอาหารได้
การปลูกและการขยายพันธุ์
ตำลึงมีการปลูกและขยายพันธุ์ได้ 2 วิธี คือ
• เพาะเมล็ด
• ปักชำด้วยเถา
การเพาะเมล็ด
มีวิธีการง่าย ๆ ดังนี้
เตรียมดินเหมือนปลูกผักทั่วไปผสมปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยคอกก็ได้ นำ ผลตำลึงแก่สีแดงแกะเอาเมล็ดออกมาโรยบนดินที่เตรียมไว้ โรยดินกลบหรือ ใช้ใบไม้แห้งกลบบาง ๆ รดน้ำให้ชุ่มเช้าเย็น ตำลึงชอบดินชุ่มแต่อย่าให้แฉะ เพราะจะเกิดโรคโคนเน่าได้ เมื่อต้นงอกขึ้นมาสักประมาณ 5 ซม. เริ่มมีมือเกาะให้ทำค้าง
(เนื่องจากตำลึงเป็นไม้เลื้อย จำเป็นต้องใช้ค้าง เพื่อให้ตำลึงไต่ขึ้นสู่ที่สูงเพื่อ รับแสงแดด ) เหมาะที่สุดคือ ความสูงระดับ 1 เมตรขึ้นไป แต่ไม่ควรสูงเกิน 3 เมตร เพราะจะไม่สะดวกในการเก็บยอดตำลึง โดยใช้ไม้ไผ่ต้นเล็ก 3 ต้น ปัก เป็น 3 เส้า รอบปลายเชือกเข้าไว้ด้วยกัน ผูกด้วยเชือกกล้วยหรือเชือกปอ ใช้
วัสดุที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ เพื่อช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกทางหนึ่ง หรือหากมีรั้วไม้ระแนง ก็ถือโอกาสใช้ประโยชน์โดยโรยเมล็ดไปตามริมรั้วเลย ทีเดียว
ตำลึงต้องได้รับแสงแดดตลอดทั้งวัน ลมโกรกผ่านได้ ตำลึงจะ สังเคราะห์แสงแดดคายไอน้ำได้เต็มที่ ควรปล่อยให้มดแดงขึ้น เพราะจะช่วยกิน เพลี้ยและแมลงที่จะมากัดกินตำลึง
ปักชำด้วยเถา
การปลูกตำลึงเพื่อการค้านั้นนิยมขยายพันธุ์ด้วยวิธีนี้ เนื่องจาก ตำลึงจะเจริญเติบโตเร็วกว่าการเพาะด้วยเมล็ด
วิธีการปักชำ
ให้นำเถาที่แก่พอสมควรมาตัดให้ยาว 15 – 20 ซม. ปักชำในหลุม ปลูกที่ได้เตรียมไว้แล้ว( ลักษณะขั้นตอนการปลูกเหมือนกับหัวข้อการเพาะ เมล็ด ) พอเจริญเติบโตเต็มที่ประมาณ 1 เดือน ก็สามารถเก็บยอดมาปรุงอาหาร ได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ตำลึงแตกยอดใหม่ทยอยออกมาตลอดปี ต้องหมั่น เก็บมาบริโภคอยู่เสมอ ในขณะเดียวกันให้ใส่ปุ๋ยคอก ช่วยเพิ่มเติมอาหารในดิน ประมาณเดือนละครั้ง ต้องหมั่นรดน้ำสม่ำเสมอในหน้าแล้งและหน้าหนาว ส่วนหน้าฝนจะเว้นได้บ้างแต่ต้องช่วยรดน้ำในขณะที่ฝนทิ้งช่วง
จัดทำ/เผยแพร่โดย : กลุ่มสื่อส่งเสริมการเกษตร
สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
กรมส่งเสริมการเกษตร
homeowners insurance Claim
home insurance Claim
state farm car insurance Claim
comprehensive insurance Claim
commercial insurance Claim
cheap auto insurance Claim
cheap health insurance Claim
indemnity Claim
car insurance companies Claim
progressive quote Claim
usaa car insurance Claim
insurance near me Claim
term life insurance Claim
auto insurance near me Claim
state farm car insurance Claim
comprehensive insurance Claim
progressive home insurance Claim
house insurance Claim
progressive renters insurance Claim
state farm insurance quote Claim
metlife auto insurance Claim
best insurance companies Claim
progressive auto insurance quote Claim
cheap car insurance quotes Claim
allstate car insurance Claim
rental car insurance Claim
car insurance online Claim
liberty mutual car insurance Claim
cheap car insurance near me Claim
best auto insurance Claim
home insurance companies Claim
usaa home insurance Claim
list of car insurance companies Claim
full coverage insurance Claim
allstate insurance near me Claim
cheap insurance quotes Claim
national insurance Claim
progressive home insurance Claim
house insurance Claim
health insurance quotes Claim
ameritas dental Claim
state farm renters insurance Claim
medicare supplement plans Claim
progressive renters insurance Claim
aetna providers Claim
title insurance Claim
sr22 insurance Claim
medicare advantage plans Claim
aetna health insurance Claim
ambetter insurance Claim
umr insurance Claim
massmutual 401k Claim
private health insurance Claim
assurant renters insurance Claim
assurant insurance Claim
dental insurance plans Claim
state farm insurance quote Claim
health insurance plans Claim
workers compensation insurance Claim
geha dental Claim
metlife auto insurance Claim
boat insurance Claim
aarp insurance Claim
costco insurance Claim
flood insurance Claim
best insurance companies Claim
cheap car insurance quotes Claim
best travel insurance Claim
insurance agents near me Claim
car insurance Claim
car insurance quotes Claim
auto insurance Claim
auto insurance quotes Claim
long term care insurance Claim
auto insurance companies Claim
home insurance quotes Claim
cheap car insurance quotes Claim
affordable car insurance Claim
professional liability insurance Claim
cheap car insurance near me Claim
small business insurance Claim
vehicle insurance Claim
best auto insurance Claim
full coverage insurance Claim
motorcycle insurance quote Claim
homeowners insurance quote Claim
errors and omissions insurance Claim
general liability insurance Claim
best renters insurance Claim
cheap home insurance Claim
cheap insurance near me Claim
cheap full coverage insurance Claim
cheap life insurance Claim
การปลูกกุยช่าย
ที่มา กรมส่งเสริมการเกษตร
กุยช่ายเป็นพืชผักอยู่ในวงศ์ เดียวกับหอม กระเทียม มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน นิยมบริโภคในเอเซียทั่วไป เป็นพืช ข้ามปี มี 2 สายพันธุ์ คือ กุยช่ายใบ และกุยช่ายดอก
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ในสภาพแวดล้อมที่มีช่วงแสงสั้น อุณหภูมิต่ำ กุยช่ายจะพักตัว หยุดชะงักการเจริญ การทำลายระยะพักตัวสามารถทำได้โดยการ เพิ่มช่วงแสง (เปิดไฟในเวลากลางคืน) หรือผ่านอุณหภูมิต่ำเป็นระยะเวลานานในสภาพช่วง แสงยาว จะกระตุ้นให้เกิดการเจริญของดอก ในบางสายพันธุ์ต้องการอุณหภูมิ
ต่ำ สำหรับการเจริญเติบโตของดอก อุณหภูมิที่เหมาะสำหรับการเจริญเติบโต ของกุยช่าย คือ 20°ซ
สภาพดินที่เหมาะสม
กุยช่ายชอบดินที่ร่วนซุย มีหน้าดินหนา อินทรีย์วัตถุสูง ระบายน้ำ ได้ดี ค่า pH ของดินอยู่ระหว่าง 6.5 – 6.8
วิธีการปลูก
1. การปลูกโดยการเพาะเมล็ด (เมล็ดพันธุ์หนัก 3–4 กรัมมีจำนวน 1,000 เมล็ด ก่อนเพาะควรแช่เมล็ด ในน้ำผสมปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรท ( 13 – 0 – 50 ) เข้มข้น 0.1 % นาน 1 ชั่วโมง แล้วนำออกมาใส่ในผ้าเปียก เก็บในตู้เย็นด้านล่าง (5°ซ )เป็นเวลา 3–5 วัน รักษาความชื้นในวัสดุเพาะ สม่ำเสมอ เพื่อช่วยในการงอกของเมล็ดจึงนำออกมาผึ่งให้ผิวแห้ง การหยอด เมล็ดอาจใช้ถาดเพาะและหยอดเมล็ด 3 – 5 เมล็ด ต่อหลุม อุณหภูมิที่ เหมาะสมสำหรับการงอกของเมล็ดอยู่ระหว่าง 15 – 20°ซ เมล็ดจะงอกภายใน เวลา 7 – 14 วัน อายุกล้า 55 – 60 วัน หลังเพาะเมล็ด ระยะปลูก 12 – 20 ต้นต่อ ตารางเมตรหรือใช้ระยะปลูก30 x 30 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์และความ อุดมสมบูรณ์ของดินใช้จำนวนต้นกล้า 3 – 4 ต้นต่อหลุม
2. ปลูกโดยการแยกกอ ใช้ต้นแม่พันธุ์อายุ 6 เดือนขึ้นไป ขุดและ แยกกอปลูก ก่อนปลูกควรตัดใบออกไปบ้าง เพื่อลดการคายน้ำ ตัดรากให้ เหลือยาว 1 – 2 เซนติเมตร ปลูก 3 – 4 ต้นต่อหลุม การปลูกกุยช่ายแต่ละ แปลงใช้เวลา 3 ปี หลังจากนั้นควรทำการแยกกอและเตรียมแปลงปลูกใหม่
การใส่ปุ๋ย
- หลังเตรียมดินควร ใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกอัตรา 2 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร
- หลังย้ายปลูก 7 วัน ควรใส่ ปุ๋ย 21–0 – 0 (แอมโมเนีย ซัลเฟต ) ในดินที่เป็นด่าง อัตรา 10กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 13 – 0 – 0 – 26 ( แคลเซียมไน เตรท ) ในดินที่เป็นกรด อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่
- หลังย้ายปลูกทุก 3 เดือน ใส่ปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยคอก อัตรา 1 กิโลกรัม ปุ๋ย 13 – 13 – 21 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ และ 21 – 0 – 0 ในดิน ที่เป็นด่าง อัตรา 1 กิโลกรัมต่อไร่หรือ 13 – 0 – 26 ในดินที่เป็นกรด อัตรา 15 กิโลกรัม ต่อไร่
- หลังการเก็บเกี่ยว ใส่ปุ๋ย 21 – 0 – 0 ในดินที่เป็นด่าง อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 13 – 0 – 26 ในดินที่เป็นกรดอัตรา 15กิโลกรัมต่อไร่ - วิธีการใส่ปุ๋ยหลังย้ายปลูก เจาะหลุมห่างจากต้น 10 เซนติเมตร
ด้านใดด้านหนึ่ง และใส่อีกด้านหนึ่งในครั้งต่อไปสลับด้านกัน - ฉีดพ่นปุ๋ยเกล็ด หรือปุ๋ยน้ำที่มีธาตุอาหารหลักและธาตุอาหาร รอง ในรูป สารละลายทางใบ ทุก ๆ สัปดาห์
การคลุมแปลงปลูก
ควรใช้วัสดุคลุมแปลงปลูก เช่นฟางข้าวเพื่อลดอุณหภูมิดิน รักษา ความชื้นและป้องกันวัชพืช ถ้าไม่คลุมแปลงปลูกควรพรวนดินตื้น ๆ เพื่อกำจัด วัชพืช
การให้น้ำ
ควรให้น้ำสม่ำเสมอ พืชจะชะงักการเจริญในกรณีที่ขาดน้ำ และ การให้น้ำมากเกินไปอาจทำให้รากและเหง้าเน่า ใบเหลืองตาย ระบบการให้น้ำที่เหมาะสมคือแบบน้ำหยด อาจจะใช้ระบบพ่น ฝอยหรือทดน้ำเข้าแปลงแต่ควรระวังในกรณีที่ใบเปียกโรคจะเข้าทำลายได้ง่าย
การผลิตกุยช่ายขาว
ระยะที่เหมาะสมสำหรับการ ผลิตกุยช่ายขาวคือ 3 เดือนหลังย้าย ปลูก (90วัน) เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง นิยมปลูกในเดือนกรกฎาคม เริ่มเก็บเกี่ยวใน เดือนตุลาคม – มีนาคม
- ใช้มีดที่คมตัดใบออกให้ชิดดินทั้งกอ ( ขายเป็นกุยช่ายเขียว )
- ใช้กระถางดินเผาครอบต้น โดยใช้กระถางทรงกระบอก ขนาด ปากกว้าง 7 นิ้ว ก้นกระถางกว้าง 8 นิ้ว คลุมสูง 12 นิ้ว ครอบให้ชิดดินและปิด ไม่ให้แสงผ่านเพื่อให้เป็นกุยช่ายขาว ( ในประเทศจีนนิยมใช้อุโมงค์ไม้ไผ่ปิด ด้วยฟางหรือกระดาษหนา )
- ทยอยครอบและเก็บเกี่ยว ในปริมาณตามความต้องการของ ตลาด
- หลังเก็บเกี่ยว 1 เดือน (ปล่อยให้ใบเจริญ ) ตัดใบออกขายเป็น กุยช่ายเขียวและเริ่มครอบใหม่กระถางใหม่ เพื่อผลิตกุยช่ายขาว
การเก็บเกี่ยว
กุยช่ายเขียว สามารถเก็บเกี่ยว 3 – 9 ครั้งต่อปี ขึ้นอยู่กับพันธุ์ สภาพแวดล้อมและการดูแลรักษาระยะเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือเดือน ตุลาคม – มีนาคม
กุยช่ายขาว เก็บเกี่ยวหลังจากใช้กระถางครอบหรือคลุมแปลง ประมาณ 2 อาทิตย์ เก็บเกี่ยวเมื่อใบมรความยาว 20 เซนติเมตร ตัดโคนใบชิดดิน ล้างด้วยน้ำเย็น ตัดแต่งส่วนที่ถูกทำลายโดยโรค
แมลง หรือแผลที่เกิดจากการขนส่ง และเศษวัชพืชอื่นที่ปลอมปนเก็บไว้ในที่ ร่มป้องกันแสงอาทิตย์ในระหว่างเก็บรักษาและขนส่ง
กุยช่ายดอก เก็บเกี่ยวระยะดอกตูม ตัดโคนก้านดอกยาว 30 – 40 เซนติเมตร ใบมีอัตราการหายใจและคายน้ำสูง ควรเก็บรักษาในที่มี อุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพันท์สูง โดยบรรจุในถุงพลาสติก เก็บในอุณหภูมิ 0° องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันท์ 95 %
เรียบเรียงโดย : รศ. นิพนธ์ ไชยมงคล
สาชาพืชผัก มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผลิตและเผยแพร่โดย : กลุ่มสื่อส่งเสริมการเกษตร
สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
สั่งซื้อการ์ตูนตาหวาน
การ์ตูนผู้หญิงแบบ PDF
มีเป็นพันเล่มคลิกเข้าไปเลือกดูได้เลยที่นี่
กุยช่ายเป็นพืชผักอยู่ในวงศ์ เดียวกับหอม กระเทียม มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน นิยมบริโภคในเอเซียทั่วไป เป็นพืช ข้ามปี มี 2 สายพันธุ์ คือ กุยช่ายใบ และกุยช่ายดอก
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ในสภาพแวดล้อมที่มีช่วงแสงสั้น อุณหภูมิต่ำ กุยช่ายจะพักตัว หยุดชะงักการเจริญ การทำลายระยะพักตัวสามารถทำได้โดยการ เพิ่มช่วงแสง (เปิดไฟในเวลากลางคืน) หรือผ่านอุณหภูมิต่ำเป็นระยะเวลานานในสภาพช่วง แสงยาว จะกระตุ้นให้เกิดการเจริญของดอก ในบางสายพันธุ์ต้องการอุณหภูมิ
ต่ำ สำหรับการเจริญเติบโตของดอก อุณหภูมิที่เหมาะสำหรับการเจริญเติบโต ของกุยช่าย คือ 20°ซ
สภาพดินที่เหมาะสม
กุยช่ายชอบดินที่ร่วนซุย มีหน้าดินหนา อินทรีย์วัตถุสูง ระบายน้ำ ได้ดี ค่า pH ของดินอยู่ระหว่าง 6.5 – 6.8
วิธีการปลูก
1. การปลูกโดยการเพาะเมล็ด (เมล็ดพันธุ์หนัก 3–4 กรัมมีจำนวน 1,000 เมล็ด ก่อนเพาะควรแช่เมล็ด ในน้ำผสมปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรท ( 13 – 0 – 50 ) เข้มข้น 0.1 % นาน 1 ชั่วโมง แล้วนำออกมาใส่ในผ้าเปียก เก็บในตู้เย็นด้านล่าง (5°ซ )เป็นเวลา 3–5 วัน รักษาความชื้นในวัสดุเพาะ สม่ำเสมอ เพื่อช่วยในการงอกของเมล็ดจึงนำออกมาผึ่งให้ผิวแห้ง การหยอด เมล็ดอาจใช้ถาดเพาะและหยอดเมล็ด 3 – 5 เมล็ด ต่อหลุม อุณหภูมิที่ เหมาะสมสำหรับการงอกของเมล็ดอยู่ระหว่าง 15 – 20°ซ เมล็ดจะงอกภายใน เวลา 7 – 14 วัน อายุกล้า 55 – 60 วัน หลังเพาะเมล็ด ระยะปลูก 12 – 20 ต้นต่อ ตารางเมตรหรือใช้ระยะปลูก30 x 30 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์และความ อุดมสมบูรณ์ของดินใช้จำนวนต้นกล้า 3 – 4 ต้นต่อหลุม
2. ปลูกโดยการแยกกอ ใช้ต้นแม่พันธุ์อายุ 6 เดือนขึ้นไป ขุดและ แยกกอปลูก ก่อนปลูกควรตัดใบออกไปบ้าง เพื่อลดการคายน้ำ ตัดรากให้ เหลือยาว 1 – 2 เซนติเมตร ปลูก 3 – 4 ต้นต่อหลุม การปลูกกุยช่ายแต่ละ แปลงใช้เวลา 3 ปี หลังจากนั้นควรทำการแยกกอและเตรียมแปลงปลูกใหม่
การใส่ปุ๋ย
- หลังเตรียมดินควร ใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกอัตรา 2 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร
- หลังย้ายปลูก 7 วัน ควรใส่ ปุ๋ย 21–0 – 0 (แอมโมเนีย ซัลเฟต ) ในดินที่เป็นด่าง อัตรา 10กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 13 – 0 – 0 – 26 ( แคลเซียมไน เตรท ) ในดินที่เป็นกรด อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่
- หลังย้ายปลูกทุก 3 เดือน ใส่ปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยคอก อัตรา 1 กิโลกรัม ปุ๋ย 13 – 13 – 21 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ และ 21 – 0 – 0 ในดิน ที่เป็นด่าง อัตรา 1 กิโลกรัมต่อไร่หรือ 13 – 0 – 26 ในดินที่เป็นกรด อัตรา 15 กิโลกรัม ต่อไร่
- หลังการเก็บเกี่ยว ใส่ปุ๋ย 21 – 0 – 0 ในดินที่เป็นด่าง อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 13 – 0 – 26 ในดินที่เป็นกรดอัตรา 15กิโลกรัมต่อไร่ - วิธีการใส่ปุ๋ยหลังย้ายปลูก เจาะหลุมห่างจากต้น 10 เซนติเมตร
ด้านใดด้านหนึ่ง และใส่อีกด้านหนึ่งในครั้งต่อไปสลับด้านกัน - ฉีดพ่นปุ๋ยเกล็ด หรือปุ๋ยน้ำที่มีธาตุอาหารหลักและธาตุอาหาร รอง ในรูป สารละลายทางใบ ทุก ๆ สัปดาห์
การคลุมแปลงปลูก
ควรใช้วัสดุคลุมแปลงปลูก เช่นฟางข้าวเพื่อลดอุณหภูมิดิน รักษา ความชื้นและป้องกันวัชพืช ถ้าไม่คลุมแปลงปลูกควรพรวนดินตื้น ๆ เพื่อกำจัด วัชพืช
การให้น้ำ
ควรให้น้ำสม่ำเสมอ พืชจะชะงักการเจริญในกรณีที่ขาดน้ำ และ การให้น้ำมากเกินไปอาจทำให้รากและเหง้าเน่า ใบเหลืองตาย ระบบการให้น้ำที่เหมาะสมคือแบบน้ำหยด อาจจะใช้ระบบพ่น ฝอยหรือทดน้ำเข้าแปลงแต่ควรระวังในกรณีที่ใบเปียกโรคจะเข้าทำลายได้ง่าย
การผลิตกุยช่ายขาว
ระยะที่เหมาะสมสำหรับการ ผลิตกุยช่ายขาวคือ 3 เดือนหลังย้าย ปลูก (90วัน) เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง นิยมปลูกในเดือนกรกฎาคม เริ่มเก็บเกี่ยวใน เดือนตุลาคม – มีนาคม
- ใช้มีดที่คมตัดใบออกให้ชิดดินทั้งกอ ( ขายเป็นกุยช่ายเขียว )
- ใช้กระถางดินเผาครอบต้น โดยใช้กระถางทรงกระบอก ขนาด ปากกว้าง 7 นิ้ว ก้นกระถางกว้าง 8 นิ้ว คลุมสูง 12 นิ้ว ครอบให้ชิดดินและปิด ไม่ให้แสงผ่านเพื่อให้เป็นกุยช่ายขาว ( ในประเทศจีนนิยมใช้อุโมงค์ไม้ไผ่ปิด ด้วยฟางหรือกระดาษหนา )
- ทยอยครอบและเก็บเกี่ยว ในปริมาณตามความต้องการของ ตลาด
- หลังเก็บเกี่ยว 1 เดือน (ปล่อยให้ใบเจริญ ) ตัดใบออกขายเป็น กุยช่ายเขียวและเริ่มครอบใหม่กระถางใหม่ เพื่อผลิตกุยช่ายขาว
การเก็บเกี่ยว
กุยช่ายเขียว สามารถเก็บเกี่ยว 3 – 9 ครั้งต่อปี ขึ้นอยู่กับพันธุ์ สภาพแวดล้อมและการดูแลรักษาระยะเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมคือเดือน ตุลาคม – มีนาคม
กุยช่ายขาว เก็บเกี่ยวหลังจากใช้กระถางครอบหรือคลุมแปลง ประมาณ 2 อาทิตย์ เก็บเกี่ยวเมื่อใบมรความยาว 20 เซนติเมตร ตัดโคนใบชิดดิน ล้างด้วยน้ำเย็น ตัดแต่งส่วนที่ถูกทำลายโดยโรค
แมลง หรือแผลที่เกิดจากการขนส่ง และเศษวัชพืชอื่นที่ปลอมปนเก็บไว้ในที่ ร่มป้องกันแสงอาทิตย์ในระหว่างเก็บรักษาและขนส่ง
กุยช่ายดอก เก็บเกี่ยวระยะดอกตูม ตัดโคนก้านดอกยาว 30 – 40 เซนติเมตร ใบมีอัตราการหายใจและคายน้ำสูง ควรเก็บรักษาในที่มี อุณหภูมิต่ำ ความชื้นสัมพันท์สูง โดยบรรจุในถุงพลาสติก เก็บในอุณหภูมิ 0° องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันท์ 95 %
เรียบเรียงโดย : รศ. นิพนธ์ ไชยมงคล
สาชาพืชผัก มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ผลิตและเผยแพร่โดย : กลุ่มสื่อส่งเสริมการเกษตร
สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
สั่งซื้อการ์ตูนตาหวาน
การ์ตูนผู้หญิงแบบ PDF
มีเป็นพันเล่มคลิกเข้าไปเลือกดูได้เลยที่นี่
Subscribe to:
Posts (Atom)